Cement

Thai Pride Cement


Thai Pride Cement

Service and Solutions Modules:

Grinding Solution

Pain Point/Need:

ต้องการเพิ่มกำลังการผลิตปูนซีเมนต์จาก 100 ตันต่อชั่วโมง เป็น 135 ตันต่อชั่วโมง

Action:

EPS ให้บริการออกแบบและดำเนินการปรับปรุงระบบหม้อบดปูน, Roller press, พัดลม และหม้อบด เพื่อเพิ่มประสิทธิการผลิตปูนให้ได้ตามเป้าหมาย

Result:

เมื่อทดสอบเดินระบบหลังจากปรับปรุง พบว่าได้กำลังการผลิตตามเป้าหมาย


Service and Solutions Modules:

Grinding Solution

Pain Point/Need:

ต้องการเพิ่มกำลังการผลิตปูนซิเมนต์จาก 150TPH เป็น 170TPH

Action:

EPS ให้บริการออกแบบและดำเนินการปรับปรุงระบบคัดแยกปูนซิเมนต์
เพื่อเพิ่มประสิทธิการผลิตปูนให้ได้ตามเป้าหมาย

Result:

เมื่อทดสอบเดินระบบหลังจากปรับปรุง พบว่าได้กำลังการผลิตตามเป้าหมาย

Siam Cement
(Keang Khoi)


Siam Cement <br>(Keang Khoi)

Siam Cement
(Khao Wong)


Siam Cement <br>(Khao Wong)
Pain Point/Need:

การใช้งานเครื่องดักจับฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตย์ ส่งผลให้ระหว่างเปลี่ยนรูปแบบกระบวนการผลิต มีโอกาสปล่อยฝุ่นในปริมาณที่มองเห็นได้จากปล่อง

Action:

EPS ติดตั้งเครื่องดักจับฝุ่นแบบถุงกรองขนาด 1,900,000 ลบ.ม./ชม. โดยใช้
ถุงกรองไฟเบอร์กลาสเคลือบด้วย PTFE เมมเบรมยาว 10 เมตร. เพื่อทดแทนเครื่องดักจับฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตย์ตัวเดิม อีกทั้งได้บริการงานออกแบบทางวิศวกรรมทั้งระบบ, งานแปรรูปเหล็ก, งานเตรียมงานประกอบก่อนยกติดตั้ง และงานติดตั้งเครื่องดักจับฝุ่นแบบถุงกรอง  โดยจะมีทีมผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาในแต่ละขั้นตอน

Result:

พบปริมาณฝุ่นในเครื่องดักจับฝุ่นแบบถุงกรอง ปริมาณน้อยสุดที่ 0.9 มก./ลบ.ม.
(รับประกันไม่เกิน 10 มก./ลบ.ม.) โดยระหว่างติดตั้งใช้เวลาเพียง 30 วัน เพื่อรื้อถอนและติดตั้งเครื่องจักรภายใน รวมไปถึงการแปรรูปเหล็ก จึงทำให้สามารถควบคุมงบได้


Pain Point/Need:

ผิว Roller press เกิดการสึกกร่อนตามการใช้งานทุกปี

Action:

EPS ให้บริการแก้ไขผิวหน้า Roller press ที่สึกหรอ โดยการเชื่อมพอกบริเวณผิว
ชิ้นงาน เพื่อป้องกันตัว Roller สึก และเพิ่มความแข็งแรง

Result:

ผิวของ Roller press มีความหนาตามมาตรฐานที่ออกแบบไว้ และสามารถนำกลับมาใช้งานได้ตามปกติ

Kampot Cement


Kampot Cement

Dungsam Cement


Dungsam Cement
Pain Point/Need:

เนื่องจากกำลังการผลิตปูนซีเมนต์ของลูกค้าลดลง โดยมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เครื่องจักรไม่มีเสถียรภาพ, เครื่องจักรมีอัตราการผลิตน้อยกว่าที่ออกแบบไว้ นอกจากนี้ยังทำให้สินค้าเกิดข้อผิดพลาด

Action:

ทีม EPS เข้าไปประเมินและวิเคราะห์กระบวนการผลิต รวมถึงสภาพของเครื่องจักร เพื่อหาปัญหาที่แท้จริงและแก้ไขโดยการแนะนำและปรับปรุงกระบวนการผลิตที่โรงงาน พร้อมทั้งจัดตั้งมาตรฐานกระบวนการทำงาน, การวางแผนซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักร, การปรับตั้งค่าตัวแปรต่างๆ ในการควบคุมการผลิต, การควบคุมคุณภาพการผลิต รวมถึงการฝึกอบรมพนักงานของลูกค้า   

Result:

เพิ่มกำลังการผลิตปูนซีเมนต์, ลดจำนวนสินค้าที่ผลิตผิดพลาด, ลดการเกิดความเสียหายของเครื่องจักร, ยกระดับทักษะความรู้ของพนักงาน ส่งผลให้กำไรของบริษัทดีขึ้น